NEW STEP BY STEP MAP FOR การใช้งานเชิงธุรกิจ

New Step by Step Map For การใช้งานเชิงธุรกิจ

New Step by Step Map For การใช้งานเชิงธุรกิจ

Blog Article




ถุงผ้าสปันบอนด์ รักษ์โลก
รับผลิตกระเป๋าผ้าสปันบอนด์ ราคาย่อมเยา Eco-friendly, ethically made, endlessly useful.

ถุงผ้าสปันบอนด์อันดับ1
รับทำถุงผ้าสปันบอนด์พร้อมโลโก้ราคาถูก
กระเป๋าผ้าสปันบอนด์ (Non-Woven Bag)
ผ้าสปันบอนด์คือ ?
ผ้าสปันสบันบอนด์หรือผ้านอนวูฟเวน (Non-Woven) คือผ้าที่ไม่มีการถักทอ หรือที่เรานิยมเรียกกันว่าผ้าสปันบอนด์ (Spun Bonded) ซึ่งผ้านอนวูเวนจะเป็นวัสดุทดแทนผ้า สร้างจากเม็ดพลาสติกบริสุทธิ์ โดยใช้ความร้อนทำให้พลาสติกละลายและฉีดเป็นเส้นใยสานกันไปมาอย่างต่อเนื่อง จากนั้นขึ้นรูปเป็นแผ่นนูนเพื่อให้ได้ผิวสัมผัสคล้ายกับผ้าที่มีการทอ

คุณสมบัติของผ้าสปันบอนด์คือ มีน้ำหนักเบามากเมื่อเทียบกับผ้าชนิดอื่น แต่ตัวเนื้อผ้าก็มีความเหนียวฉีกขาดได้ยาก ยืดและหดตัวได้ดี ไม่ยับง่าย สะอาดปลอดภัย ไม่ดูดซึมน้ำ ทำให้ผ้าสปันบอนด์ไม่ขึ้นราและไม่เป็นแหล่งสะสมของแบคทีเรีย จึงเหมาะกับการนำมาผลิตเป็นกระเป๋าผ้าเพื่อใช้ใส่สินค้าชนิดต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย โดยความหนาของผ้าที่นิยมนำมาผลิตเป็นกระเป๋าผ้าจะอยู่ที่ 75 กรัม ซึ่งจะมีสีผ้าให้ลูกค้าเลือกเป็นจำนวนมาก

หากเทียบกันแล้ว ในขณะที่ถุงพลาสติกที่ใช้เวลาย่อยสลายยาวนานถึง 450 ปี แต่ถุงผ้าสปันบอนด์สามารถย่อยสลายได้ภายในระยะเวลาเพียง 5-10 ปี จึงเป็นอีกหนึ่งผ้ารักษ์โลกที่สามารถใช้ใส่ข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน อีกทั้งยังสามารถนำกลับมาใช้ซ้ำใหม่ได้อีกหลายครั้ง ถุงผ้าสปันบอนด์จึงสามารถช่วยลดการใช้งานถุงพลาสติกได้เป็นอย่างดี

กระเป๋าผ้าสปันบอนด์มีข้อดีหลายประการ
ถุงผ้าสปันบอนด์สามารถย่อยสลายได้ภายในระยะเวลาเพียง 5-10 ปี ในขณะที่ถุงพลาสติกที่ใช้เวลาย่อยสลายยาวนานถึง 450 ป

น้ำหนักเบา
น้ำหนักเบา
กระเป๋ามีน้ำหนักเบา สะดวกในการพกพา

Untitled_design_7
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
สามารถรีไซเคิลได้ ช่วยลดปริมาณขยะพลาสติก

กันน้ำ
กันน้ำ
เหมาะสำหรับการใช้งานที่ต้องการความทนทานต่อความชื้น

ราคาถูก
ราคาถูก
ต้นทุนการผลิตต่ำ ทำให้กระเป๋ามีราคาที่เข้าถึงได้

ผ้าสปันบอนด์สามารถใช้ทำอะไรได้บ้าง?
กระเป๋า: ใช้ทำกระเป๋าสำหรับช้อปปิ้ง กระเป๋าใช้ซ้ำ หรือกระเป๋าสำหรับงานโปรโมชัน
หน้ากากอนามัย: ใช้เป็นวัสดุสำหรับผลิตหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ
ที่นอนและผ้าห่ม: ใช้เป็นชั้นผ้าห่มหรือวัสดุสำหรับที่นอน
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร: ใช้ทำผ้าคลุมต้นไม้หรือใช้ในกระบวนการปลูกพืช
การบรรจุสินค้า: ใช้ทำถุงหรือห่อสำหรับสินค้าหรือของขวัญ
อุปกรณ์ศิลปะและงานฝีมือ: ใช้ในการทำงานฝีมือ เช่น งานตกแต่งหรือการเย็บปัก
วัสดุสำหรับการตกแต่ง: ใช้ทำโปสเตอร์หรือวัสดุตกแต่งสำหรับงานอีเวนต์
เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย: สามารถใช้ทำเสื้อคลุมหรือเครื่องแต่งกายชั่วคราว
ถุงผ้าสปันบอนด์รักษ์โลก
กระเป๋าผ้าสปันบอนด์สกรีนพร้อมส่ง
ตัวอย่างผลงานกระเป๋าผ้าสปันบอนด์-สั่งผลิตตามแบบ
กระเป๋าผ้าสปันบอนด์มีข้อดีหลายประการ ได้แก่
น้ำหนักเบา: กระเป๋ามีน้ำหนักเบา สะดวกในการพกพา
ทนทาน: มีความแข็งแรงและทนทานต่อการฉีกขาด
กันน้ำ: มักมีคุณสมบัติกันน้ำ เหมาะสำหรับการใช้งานที่ต้องการความทนทานต่อความชื้น
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม: สามารถรีไซเคิลได้ ช่วยลดปริมาณขยะพลาสติก
ระบายอากาศ: มีการระบายอากาศดี ทำให้ไม่เกิดกลิ่นอับชื้น
สามารถออกแบบโลโก้ได้หลากหลาย: สามารถพิมพ์ลวดลายหรือโลโก้ได้ง่าย ทำให้เหมาะสำหรับการใช้ในงานโปรโมชัน หรือเป็นของขวัญ
ราคาประหยัด: ต้นทุนการผลิตต่ำ ทำให้กระเป๋ามีราคาที่เข้าถึงได้
ใช้งานหลายด้าน: เหมาะสำหรับการใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ไปตลาด, ช้อปปิ้ง หรือใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ
ด้วยคุณสมบัติเหล่านี้ กระเป๋าผ้าสปันบอนด์จึงเป็นทางเลือกที่ดีทั้งในด้านการใช้งานและการรักษาสิ่งแวดล้อม

ข้อเสีย หรือจุดด้อยของกระเป๋าผ้าสปันบอนด์ ได้แก่
ความทนทานน้อยกว่า: แม้จะทนทาน แต่ยังไม่แข็งแรงเท่าผ้าอื่นๆ เช่น ผ้าใบหรือไนลอน
อาจขาดง่าย: หากถูกดึงหรือใช้งานหนักเกินไป อาจเกิดการฉีกขาดได้ และของมีคมจะทำให้ฉีกขาดง่าย
ความสวยงามน้อยกว่า: อาจไม่มีความหรูหราหรือสวยงามเหมือนวัสดุอื่นๆ
การดูแลรักษา: อาจไม่สามารถซักล้างบ่อยๆ ได้ เนื่องจากอาจทำให้ผ้าหมดอายุการใช้งานเร็วขึ้น
ไม่เหมาะกับใส่สินค้าหนัก: ไม่แนะนำให้ใช้สำหรับใส่สินค้าหนักๆ เนื่องจากอาจเกิดการยืดหรือฉีกขาด
ไม่ทนความร้อน: ผ้าสปันบอนด์จะไม่ทันความร้อนหากนำเข้าใกล้ความร้อนอาจจะทำผ้าละลายได้
การดูแลรักษากระเป๋าผ้าสปันบอนด์สามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้
ทำความสะอาดเบื้องต้น: ใช้ผ้าชุบน้ำหรือฟองน้ำเช็ดทำความสะอาดที่มีคราบเลอะ โดยไม่ต้องใช้สารเคมีรุนแรง
การซัก: หากต้องการซัก ควรซักมือด้วยน้ำเย็นหรืออุ่น อย่าใช้เครื่องซักผ้า กระเป๋าผ้าสปันบอนด์ เพราะอาจทำให้กระเป๋าเสียรูปทรง

ตากให้แห้ง: ตากในที่ร่มและอากาศถ่ายเทดี หลีกเลี่ยงการตากแดดโดยตรงเพราะอาจทำให้สีซีดจางและคุณภาพของผ้า ของเนื้อผ้าจะลดลง เปื่อยยุ้ยง่าย

หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี: ไม่ควรใช้สารฟอกขาวหรือน้ำยาซักผ้าที่รุนแรง เพราะอาจทำให้ผ้าชำรุดได้

เก็บให้เหมาะสม: เมื่อไม่ใช้งาน ควรพับเก็บในที่แห้งและปลอดภัย เพื่อป้องกันการฉีกขาดหรือเสียรูปทรง

ไม่เหมาะกับการรีด: ไม่แนะนะให้รีดเพราะผ้าสปันบอนด์เป็นผ้าที่ไม่ทันความร้อนผ้าอาจละลายได้

นำปลากระป๋องอย่างเดียวมาทานกับข้าวคงไม่อร่อย แต่ถ้าหากนำมาเติมพริก และน้ำมะนาวเล็กน้อย เพิ่มความเผ็ด และความเปรี้ยว และใส่หอมแดง พริก และตะไคร้ลงไป ปิดท้ายด้วยการโรยหน้าด้วยใบสะระแหน่ แล้วนำมาทานกับข้าวสวยร้อนๆ รับรองว่าอิ่มท้องแบบประหยัดงบ และเวลาสุดๆ เหมาะสำหรับคนที่อยากทานอาหารง่ายๆ แต่อร่อย เมนูนี้ถือว่าเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลย

          มาม่าปลาสลิด สูตรจาก iCook จับบะหมี่ลวกกับหน่อไม้ฝรั่งลวกคลุกกับผงปรุงรส ใส่พริกชี้ฟ้าแดง แต่งด้วยปลาสลิดกรอบและใบโหระพา

แจกสูตร ปลาทอด ราดพริกสามรส กลมกล่อม พร้อมวิธีทอดปลาให้ฟูกรอบ ไม่ติดกระทะ!

ดูวิธีทำ มาม่าไข่ตุ๋นปลากระป๋อง เพิ่มเติมคลิก

เมนูคลายร้อน! สูตรข้าวแช่ ฉบับชาววัง เมนูเด็ดในหน้าร้อน หอมเย็นชื่นใจ

ดูสูตรเต็มๆ ได้ที่ : สูตรทำ กะเพราปลากระป๋อง เมนูประหยัด ทำง่าย งบน้อย อร่อยเหาะ!


อีกหนึ่งเมนูยอดฮิตสุดประหยัดที่ทานกับข้าวสวยก็ดี ทานกับข้าวต้มก็อร่อย โดยมีวัตถุดิบหลักแค่ผักบุ้งเท่านั้น สามารถนำไปผัดด้วยไฟแรง แล้วปรุงรสได้ตามต้องการ เหมาะสำหรับคนชอบทานผักบุ้ง และสายชอบทานผักเลย แต่สำหรับใครที่ชอบทานรสชาติเผ็ดๆ ก็สามารถเติมพริกลงไปผัดด้วยก็ได้เช่นกัน 

คลิกดูวิธีทำ ราดหน้ามาม่าหมูสับไมโครเวฟ

          มาม่าไข่ตุ๋นปลากระป๋อง สูตรจาก คุณ Rita_Bunny นำบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปผสมเครื่องปรุง ปลากระป๋อง ไข่ไก่ เครื่องเคราต่าง ๆ และน้ำเปล่า เสร็จแล้วนำเข้าไมโครเวฟจนสุก

          เอาใจคนรักหุ่นสวยกับเมนูผักกาดขาวห่อหมู จับผักกาดขาวลวกห่อหมูสับแล้วนำไปนึ่งจนสุก เสิร์ฟกับน้ำจิ้มสุกี้อร่อยดับเบิล

ภาพจาก : คุณ Wittra_tt สมาชิกเว็บไซต์พันทิปดอทคอม

          เอาใจคนชอบกินเมนูไข่กับเมนูประหยัดง่าย ๆ นั่นคือเมนูไข่เจียวเห็ดเข็มทองไมโครเวฟ ใส่ซอสปรุงรสและต้นหอมซอย สุดท้ายเอาเข้าไมโครเวฟจนสุก

ภาพจาก : คุณ roid สมาชิกเว็บไซต์พันทิปดอทคอม

ดูวิธีทำ มาม่าหอมเจียวไข่ดาว เพิ่มเติมคลิก

Report this page